วันพฤหัสบดีที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2554

คำพ้อง

 คำพ้อง  
 คำพ้องหมายถึงคำที่มีรูปหรือเสียงเหมือนกันแต่จะมีความหมายต่างกันซึ่งเวลา
อ่านต้องอาศัยการสังเกตพิจารณาเนื้อความของคำที่เกี่ยวข้องประกอบด้วยคำพ้อง
แบ่งเป็น 3 ชนิด คือ 
 .คำพ้องรูป คือ
คำพ้องที่เขียนเหมือนกันแต่ออกเสียงต่างกัน
กรี อ่านว่า กรี เป็นอักษรควบ แปลว่า กระดูกแหลมที่หัวกุ้ง                 อ่านว่า กะ รี เป็นอักษรนำ แปลว่า ช้าง
 ครุ อ่านว่า ครุ เป็นอักษรควบ แปลวว่า ภาชนะสานชนิดหนึ่ง              อ่านว่า คะ รุ เป็นอักษรนำ แปลว่า ครู หนัก
 เพลา อ่านว่า เพลา เป็นอักษรควบ แปลว่า ตัก เข่า แกนล้อหมุน      อ่านว่า เพ ลา อ่านเรียงพยางค์ แปลว่า เวลา
สลา อ่านว่า สะ - เหลา เป็นอักษรนำ แปลว่า ต้นไม้ชนิดหนึ่ง           เสลา อ่านว่า เส - ลา อ่านเรียงพยางค์ แปลว่า หิน
ปรัก อ่านว่า ปรัก เป็นอักษรควบ แปลว่า เงิน                                  ปรัก อ่านว่า ปะ หรัก เป็นอักษรนำ แปลว่า หัก
แขม อ่านว่า แขม แปลว่า ชื่อต้นไม้ล้มลุกชนิดหนึ่ง                          แขม อ่านว่า ขะ แม แปลว่า คนเขมร
    . คำพ้องเสียง คือ คำที่เขียนต่างกันแต่จะออกเสียงเหมือนกัน
. คำพ้องทั้งรูปและเสียง คือคำพ้องที่เขียนเหมือนกัน อ่านออกเสียงเหมือนกัน แต่จะต่างกันในด้านความหมาย ซึ่งขึ้นอยู่ที่ใจความของคำข้างเคียง เช่น



 คำพ้องรูปและคำพ้องเสียง                          
คำพ้องรูป คือ คำที่เขียนเหมือนกัน แต่อ่านออกเสียงต่างกัน และมีความหมายต่างกัน                 

<>ตัวอย่าง


วันอาทิตย์ที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2554

ไตรยางค์

      1. ไตรยางค์


ไตรยางค คือ อักษร 3 หมู่ ซึ่งจัดแบ่งพยัญชนะไทย 44 ตัว โดยยึดเอาพื้นเสียงของพยัญชนะที่ยังไม่ได้ผันวรรณยุกต์เป็นเกณฑ์
ไตรยางศ์มีการจัดหมวดหมู่เพื่อแบ่งพยัญชนะไทยออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
* อักษร สูง มี 11 ตัว ได้แก่ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
* อักษร กลาง มี 9 ตัว ได้แก่ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
* อักษร ต่ำ มี 24 ตัว ได้แก่ ค ฅ ฆ ง ช ซ ฌ ญ ฑ ฒ ณ ท ธ น พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ฬ ฮ
การจัดหมวดหมู่ไตรยางศ์นั้น มีหลักฐานปรากฏครั้งแรกในหนังสือจินดามณี เมื่อครั้งกรุง ศรีอยุธยา เข้าใจว่าเป็นผลงานของพระ โหราธิบดีได้แต่งถวายสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช แต่ยังไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนในเรื่องนี้
อักษรสูง
ของ (ข) ของ (ฃ) ฉัน (ฉ) ถูก (ฐ ถ) เผา (ผ) ฝัง (ฝ) เสีย (ศ ษ ส) หาย (ห)
หรือ
ผี (ผ) ฝาก (ฝ) ถุง (ถ ฐ) ข้าว (ข ฃ) สาร (ศ ษ ส) ให้ (ห) ฉัน (ฉ)
อักษรกลาง
ไก่ (ก) จิก (จ) เด็กตาย (ฎ ฏ) เด็กตาย (ด ต) บน (บ) ปาก (ป) โอ่ง (อ)
ที่เหลือเป็นอักษรต่ำ

ไตรยางค์ อักษรสามหมู่

ไตรยางศ์มีการจัดหมวดหมู่เพื่อแบ่งพยัญชนะไทยออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ * อักษร สูง มี 11 ตัว ได้แก่ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห * อักษร กลาง มี 9 ตัว ได้แก่ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ * อักษร ต่ำ มี 24 ...

  
 
ในภาษาไทยมีตัวอักษรที่ใช้แทนเสียง ๓ ชนิด ได้แก่ สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์



พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง
<><><><><> 
เสียงรูป
. ก
๒. ข
๓. ง
๔. จ
๕.

๖.ซ
๗.ย
๘.ด
๙.ต
๑๐. ท
๑๑.น
๑๒. บ
๑๓.

๑๔.

๑๕.

๑๖.

๑๗.ร
๑๘.ล
๑๙.ว
๒๐.ฮ
๒๑.อ

ข ค ฅ



ช ฉ ฌ
ซ ศ ษ ส
ญ ย
ด ฎ
ต ฏ
ฐ ฑ ฒ ถ ท ธ




พ ผ ภ
ฝ ฟ


ล ฬ

ฮ ห



 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
การผันวรรณยุกต์